Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/539
Title: | การปรับตัวของแรงงานหญิงข้ามชาติชาวเมียนมาร์ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้นโยบายความมั่นคงของชาติ : กรณีศึกษาแรงงานหญิงข้ามชาติสัญชาติพม่าในเมืองเชียงใหม่ |
Other Titles: | Adaptation of women transborder labour under the public national security policy : A case study of Myanmar women transborder labour in Chiang mai. |
Authors: | กิรวาที, เปรมวดี จิตพิทักษ์, จุไรพร พักกระสา, สุวิชชา |
Keywords: | แรงงานหญิงข้ามชาติ การปรับตัว นโยบายด้านความมั่นคง Women transborder labour Adaptation The public national security policy |
Issue Date: | 2013 |
Publisher: | Chiang Mai Rajabhat University |
Abstract: | เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาติจำนวนมากเพื่อเข้ามาทำงานและอยู่อาศัย โดยเฉพาะแรงงานหญิงที่เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในทุกภาคส่วนงานทั้งในภาคเกษตรกรรม งานก่อสร้าง และงานบริการ พบว่ามีจำนวนไม่น้อยไปกว่าแรงงานชายเลย ในงานศึกษานี้ได้ทำการศึกษากลุ่มแรงงานหญิงชาวไทยใหญ่ที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อทำความเข้าใจการปรับตัวของแรงงานหญิงข้ามชาติ โดยศึกษาผ่านรูปแบบการดำเนินชีวิตในชีวิตประจำวันอันสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นผู้หญิงไทยใหญ่นอกพื้นที่หมู่บ้านในสถานะของผู้ทำงานส่งเงินเพื่อดูแลครอบครัว และความเป็นแรงงานหญิงภายใต้นโยบายด้านความมั่นคงของรัฐไทย ซึ่งพวกเธอเหล่านั้นมีการต่อรองและปรับตัวต่อนโยบายต่างๆ ของรัฐในหลายรูปแบบเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตในเมืองเชียงใหม่ได้อย่างราบรื่น รวมถึงความคาดหวังต่ออนาคตอันสะท้อนให้เห็นรูปแบบของการดำเนินชีวิตของแรงงานหญิงเหล่านี้ในปัจจุบัน คำสำคัญ: แรงงานหญิงข้ามชาติ การปรับตัว นโยบายด้านความมั่นคง |
Description: | Chiang Mai has large numbers of migrant laborers who come to work and live, especially women, who work in agriculture, construction and service sectors. Statistics show that the number of migrant women is about equal to the number of men. In this study, we researched migrant Shan women who come to work in Chiang Mai with the goal of understanding the methods of adaption employed through studying their everyday living patterns, which illuminates being the family bread winner as a Shan women living outside of the village, as well as a foreign laborer who must adapt to the Thai governments security policies. Aside from this, the study attempts to ascertain how the expectations for the future held by these women effects their present course of action. |
URI: | http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/539 |
Appears in Collections: | Research Report |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.pdf | Abstract | 68.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Content.pdf | Content | 132.77 kB | Adobe PDF | View/Open |
chapter1.pdf | Chapter1 | 206.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chapter2.pdf | Chapter2 | 529.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chapter3.pdf | Chapter3 | 382.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chapter4.pdf | Chapter4 | 297.55 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chapter5.pdf | Chapter5 | 216.38 kB | Adobe PDF | View/Open |
Bibliography.pdf | Bibliography | 250.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Appendix.pdf | Appendix | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Cover.pdf | Cover | 113.24 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.